วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

                                           ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา

อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อบนระบบเครือข่าย

การทำงานของระบบ Network และ Internet
                                             อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อบนระบบเครือข่าย

ระบบเครือข่ายยังต้องอาศัยอุปกรณ์ที่ต่อเชื่อม และในบางครั้งก็ต้องค้นหาเส้นทางการขนส่งข้อมูลระหว่างโหนด และระหว่างส่วนต่างๆ ของระบบเครือข่าย ซึ่งเชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น

  อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อบนระบบเครือข่าย ประกอบด้วย อุปกรณ์รวมสัญญาณ อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่าย
 
1. อุปกรณ์รวมสัญญาณ
1.1 มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) นิยมเรียก

กันว่า มัก (MUX) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการรวมข้อมูล

(multiplex) จากเครื่องเทอร์มินัลจำนวนหนึ่งเข้า

ด้วยกัน และส่งผ่านไปยังสายสื่อสารเดียวกัน  และที่

ปลายทาง MUX อีกตัวจะทำหน้าที่แยกข้อมูล (de-

multiplex) ส่งไปยังจุดหมายที่ต้องการการรวมข้อมูล

(Mutiplexing)  


Internet คืออะไร

Internet คือ ระบบเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้า


ด้วยกันโดยใช้ protocol มาตรฐานสำหรับinternet (IP) เพื่อบริการ


แก่ผู้ใช้จำนวนหลายพันล้านคนทั่วโลก เป็นเครือข่ายของเครือข่ายทั้งหลาย


(network of networks)

 ความสำคัญของ internet ในการศึกษา


-เป็นขุมคลังอันมหึมาของสารสนเทศ

  -มีข่าวสารข้อมูลใน Internet ให้เข้าถึงได้แบบ online / สามารถเข้าถึงสารสนเทศในเวลาใดเวลาหนึ่งได้

  -แหล่งทรัพยากรสารสนเทศ online ที่ใหญ่ที่สุดก็คือ encyclopedia ที่ใครก็สามารถเข้าถึงสารสนเทศonline นี้ ได้ตามที่ต้องการ
 ISP หรือ Internet Service Provider

Ò: หน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

Òทำหน้าที่เสมือนประตูเปิดการเชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์กรสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้
การเชื่อมต่อของอินเทอร์เน็ต  

Òผ่าน ISP โดยมีอุปกรณ์เชื่อมต่อที่เหมาะสมในการแปลงสัญญาณผ่านสื่อที่จะใช้แต่ละประเภท

Òวิธีที่1 ต่อผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา โดยมีโมเด็ม(modem)ที่ต่อกับคอมพิวเตอร์แล้วต่อเข้ากับสายโทรศัพท์

Òถ้าเป็นสายISDN (Integrated Services Digital Network)ต้องใช้โมเด็ม ISDN โดยเฉพาะ
Òวิธีที่2 ต่อด้วยอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่เรียกว่า ADSL หรือบรอดแบรนด์ โดยใช้โมเด็มชนิด ADSL ที่ต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับสายโทรศัพท์ แต่จะรับส่งสัญญาณในสายคนละแบบคนละความถี่กัน ซึ่งจะทำให้ได้ความเร็วสูงขึ้นกว่าโมเด็มธรรมดา และต้องอาศัยอุปกรณ์พิเศษที่ชุมสายจึงจะใช้ได้
Òเมื่อเชื่อมต่อกับระบบโทรศัพท์ได้แล้ว ก็หมุนหมายเลขโทรศัพท์ปลายทางไปยัง ISP  เรียกการเชื่อมต่อแบบนี้ว่า Dial- Up
 
คำถามท้ายหน่วยที่ 8
1. การนำเสนอผลงานมีวัตถุประสงค์อย่างไร
                ให้ผู้ชมเข้าใจสาระสำคัญของการนำเสนอให้ผู้ชมเกิดความประทับใจ ซึ่งจะนำไปสู่ความเชื่อถือในผลงานที่นำเสนอ การนำเสนอผลงานโดยใช้โสตทัศนศึกษานั้นมีเหตุผลเบื้องลึกคื หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ซึ่งได้มีการค้นพบจากนักวิจัยว่าการรับรู้ข้อมูลโดย ผ่านทางประสาทสัมผัสสองอย่างคือ ทั้งตาและหูพร้อมกัน
2. หลักการพื้นฐานสำคัญของการนำเสนอผลงานมีอะไรบ้าง
                การดึงดูดความสนใจความชัดเจนและความกระชับของเนื้อหาความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
3. การบรรยายสดกับการพากย์มีข้อพิจารณาในการเลือกใช้ต่างกันอย่างไร
                การบรรยายสด เหมาะสำหรับประชุมหรือสัมมนาที่ต้องการให้ผู้ชมมีส่วนร่วมเพราะผู้บรรยาย เป็นผู้รู้เรื่องราวเกี่ยวกับเนื้อหาเป็นอย่างดี
                การพากย์ เหมาะสำหรับเนื้อหาที่สามารถถ่ายทอดได้โดยไม่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ ชม แต่    ข้อเสียคือ ไม่มีความยืดหยุ่นไม่สามารถปรับให้เหมาะสมกับความรู้สึกของผู้ชมในขณะนั้น
4. เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอผลงานที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง
                การนำเสนอSlide presentation
                1.1โดยใช้โปรแกรมpower point
                1.2โดยใช้โปรแกรมproshow Gold
                1.3โดยใช้โปรแกรมFlip Album
                รูปแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
                2.1การใช้โปรแกรมAuthorware
                2.2การใช้ระบบจัดการเรียนการสอนในระบบออนไลน์Moodle
5. รูปแบบที่ใช้ในการนำเสนอผลงานที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง
                การนำเสนอแบบSlide presentation
                การนำเสนอแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
คำถามท้ายหน่วยที่ 7
1.จงอธิบายเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบต่างๆว่ามีกี่ประเภท
มีทั้งหมด 4 ประเภท อินทราเน็ต เป็นเครือข่ายภายองค์กรหนึ่งๆ เอ็กซ์ทราเน็ต ทั้งอินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วนบุคคลเนื่องจากมีเจ้าของ และเจ้าของเป็นผู้กำหนดว่าใครบ้างสามารถเป็นสมาชิกของเครือข่ายได้  รูปแบบของข้อมูลในเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆเครือข่ายของ คอมพิวเตอร์ทั้ง3ประเภทที่กล่าวมาเป็นเครือข่ายที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุ ประสงค์ที่ต่างกัน
2.อินทราเน็ต (Imtarnet)หมายความว่าอย่างไร
เป็นเครือข่ายภายสำหรับองค์กรหนึ่งๆ ข้อมูลส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรหรือข้อมูลเพื่อการใช้ประโยขน์ ขององค์กร คอมพิวเตอร์ที่ต่อเชื่อมกับเครือข่ายอาจอยู่ภายในตึกเดียวกันหรือกระจายกัน อยู่ทั่วประเทศหรือทั่วโลก
3.จงยกตัวอย่างแหล่งข้อมูลการสืบค้นบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
http://www.google.com
http://www.altavista.com
http://www.excite.com
http://www.yahoo.com
4.จงอธิบายวิธีการสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์Googleพอสังเขป
ให้พิมพิมพ์คำที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการค้นหาเพียง2-3คำลงไป แล้วกดแป้น Enter หรือคลิกที่ปุ่ม Go บหน้าจอ Google ก็จะแสดงเว็บเพจที่ต้องการค้นหา
5.Digital library หมายความว่าอย่างไร
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การจัดเก็บสารสนเทศในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์แทนที่จะจัดเก็บในรูปของสื่อ พิมพ์ ขณะนี้ได้เริ่มมีการใช้วิธีการเช่นนี้แล้ว แต่คงต้องรออีกนานทีเดียวกว่าห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์จะสามารถแทนที่ห้องสมุด แบบดั้งเดิม
6.จงยกตัวอย่างแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ประเภทของการศึกษา
เว็บไซต์โครงการ SchoolInet@ 1509 (http://www.school.net.th) เกี่ยวข้องกับการศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา

เว็บไซต์ Learn Online (http://www.learn.in.th) ของสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไทยเป็นเว็บสำหรับเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านเครือข่ายอิน เทอร์เน็ต เน้นสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทุกระดับการศึกษา
คำถามท้ายหน่วยที่ 6
1.อินเทอร์เน็ต (Internet)หมายความว่าอย่างไร
เครือข่ายนานาชาติหรือเครือข่ายสากล คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลเข้า ด้วยกันโดยปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันอยู่มากมายกว่า 60 ล้านเครื่อง
2.จงอธิบายความสำคัญของอินเทอร์เน็ตทางด้านการศึกษาว่ามีอะไรบ้าง
สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่นๆที่น่าสนใจระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทำหน้าที่เปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่นักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนอื่นๆเพื่อ ค้นหาข้อมูลที่กำลังศึกษาอยู่ได้ ทั้งที่ข้อมูลที่เป็นข้อความเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ
3.จงบอกประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ด้านการศึกษา เช่น ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้เป็นต้น
ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ เช่น ค้นหาข้อมูลต่างๆเพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ
ด้านการบันเทิง เช่น สามารถฟังวิทยุหรือดูรายการโทรทัศน์ได้ เป็นต้น
4.การติดต่อโดยใช้สายโทรศัพท์ผ่านอุปกรณ์ Modemหมายความว่าอย่างไร
อุปกรณ์แปลงสัญญารคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณโทรศัพท์และแปลงสัญญาณโทรศัพท์ ให้เป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ในการแปลงสัญญาณแอนาล็อกผ่านสายโทรศัพท์ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ ปลายทาง
5.ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต www มีประโยชน์อย่างไร
การให้บริการเวิลด์ไวด์เว็บ (world wied web หรือ www) เป็นบริการระบบข่าวสารที่มีข้อมูลอยู่ทุกแห่งในโลก ซึ่งข้อมูลต่างๆเหล่านั้นสามารถอยู่ในหลายรูปแบบแตกต่างกัน เช่น เอกสารรูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้สามารถเชื่อมโยงเป็นระบบสามารถสืบค้นได้ง่าย
6.จงยกตัวอย่างประโยชน์ของ E-mail

สามารถรับ-ส่ง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail ซึ่งจดหมายเหล่านี้จะถูกส่งผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปถึงผู้รับไม่ว่าอยู่ ที่ใดในโลกอย่างรวดเร็วภายในเวลาไม่กี่วินาที

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู



เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ (InformationTechnology)
  สารสนเทศ (Information) หมายถึงข่าวสารที่ได้จากการนำข้อมูลดิบ (Raw Data) มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึงข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที (วาสนา สุขกระสานติ 2541: 6-1)
  เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนำเอาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2539: 406)
  เทคโนโลยีสารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษว่า Information Technology และมีผู้นิยมเรียกทับศัพท์ย่อว่า IT ซึ่งสุชาดา กีรนันท์ (2541: 23) ให้ความหมายว่า หมายถึง เทคโนโลยีทุกด้านที่เข้ามาร่วมในกระบวนการจัดเก็บ สร้าง และสื่อสารสนเทศ  (วาสนา สุขกระสานติ 2541: 6-1) กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศว่า หมายถึงกระบวนการต่างๆ และระบบงานที่ช่วยให้ได้สารสนเทศตามที่ต้องการ ลูคัส (Lucas, Jr. 1997: 7) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศจะอ้างถึงเทคโนโลยีทุกชนิดที่ประยุกต์เพื่อใช้ในการประมวลผลจัดเก็บ และส่งผ่านสารนิเทศต่างๆ ให้อยู่ในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีหลักสองสาขา คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม โดยทั่วไปหมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้สำหรับการสร้าง การจัดการ การประมวลผลข้อมูลให้เป็นข้อสนเทศ การเก็บบันทึกข้อมูลเป็นฐานข้อมูล และส่งผ่านสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ตลอดจนเทคโนโลยีทั้งหลายที่เกี่ยวเนื่องกบการแสดงสารสนเทศโดยใช้ระบบดิจิตอล (ชุนเทียม ทินกฤต, 2540)
  ข้อมูล (Data) มีความหมายแตกต่างจากสารสนเทศ (Information) หรือสารนิเทศ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คำจำกัดความคำว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริง หรือการคำนวณ ข้อมูลจึงมักมีความหมายในลักษณะที่เป็นข้อมูลดิบ (Raw Data) เรียกได้ว่าเป็นสิ่งที่ได้จากการสังเกต ปรากฏการณ์การกระทำหรือลักษณะต่างๆ ของวัตถุ สิ่งของ คน สัตว์หรือพืชแล้วบันทึกไว้เป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพ หรือเสียง


ส่วน ใหญ่การเชื่อมต่อแบบหมุนโมเด็ม (Remote Access) จะเป็นการเชื่อมต่อมาจากทางบ้าน และการเชื่อมต่อแบบ LAN จะเป็นการเชื่อมต่อภายในองค์กร โดยจะขอกล่าวถึงการเชื่อมต่อแบบหมุนโมเด็มก่อน ดังนี้

1.ประวัติความเป็นมาของ Internet

2.Internet คืออะไร

3.ประวัติความเป็นมาของ Internet ในประเทศไทย

5.Internet ทำงานอย่างไร


การเชื่อมต่อโดยหมุนโมเด็ม (Remote Access)

การเชื่อมต่ออินเทอร์แบบนี้สิ่งที่จำเป็นจะต้องมีได้แก่

1.การขออนุญาตและเสียค่าบริการให้ผู้บริการอินเทอร์เน็ต Internet Service Provider (ISP)
หรือที่สถาบันที่ท่านศึกษา หรือหน่วยงานที่ท่านทำงานอยู่
โดยสิ่งที่ได้คือ ชื่อผู้ใช้ (Internet Account ) และรหัสผ่าน (Password)





2.สายโทรศัพท์ 3.โมเด็ม อาจจะเป็น Internal Modem หรือ External Modemเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรมสื่อสารข้อมูล (Communication Program